การทารุณเด็กทางเพศ
ดูบทความหลักที่: สื่อลามกอนาจารเด็ก การบริโภคสื่อลามกอนาจารเด็กเป็นตัวบ่งชี้ความใคร่เด็กที่แน่นอนกว่าการทำร้ายเด็กทางเพศแม้ว่าจะมีคนที่ไม่ใช่คนใคร่เด็กที่ดูสื่อลามกอนาจารเด็กการใช้สื่อลามกอนาจารเด็กมีจุดหมายหลายอย่าง เริ่มตั้งแต่การสนองความรู้สึกทางเพศเป็นส่วนตัวหรือการแลกเปลี่ยนกับผู้สะสมสื่อคนอื่น ๆ จนถึงการใช้เป็นส่วนของกระบวนการเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ คนใคร่เด็กที่ดูสื่อลามกอนาจารเด็กบ่อยครั้งจะหมกมุ่นอยู่กับการสะสม การจัดระเบียบ การจัดหมวดหมู่ และการติดป้ายสื่อที่สะสมโดยแบ่งเป็นวัย เพศ กิจกรรมทางเพศ และจินตนาการทางเพศที่ตนมีตามเจ้าหน้าที่ของสำนักงานสอบสวนกลางสหรัฐคนหนึ่ง https://www.clipnungx.com/category/เว็บแคม/ “การสะสม” สื่อไม่ได้หมายเพียงแค่ดูสื่อ แต่หมายถึงเก็บมันไว้ จนกระทั่ง “มันกลายเป็นสิ่งที่กำหนด ให้เชื้อเพลิง และยืนยันจินตนาการทางเพศที่พวกเขาชอบใจมากที่สุด”เจ้าหน้าที่ยังกล่าวด้วยว่า การเก็บสะสมเป็นตัวชี้บ่งที่ดีที่สุดว่าผู้กระทำผิดต้องการจะทำอะไร แต่ไม่ได้บ่งว่าได้ทำอะไรไปแล้วหรือว่าจะทำอะไรต่อไปนักวิจัยรายงานว่า คนใคร่เด็กที่สะสมสื่อลามกอนาจารเด็ก บ่อยครั้งจะเข้าร่วมกับชุมชนอินเทอร์เน็ตนิรนาม ที่อุทิศให้กับการเพิ่มจำนวนสื่อของสมาชิกชุมชน
- ตามรายงานปี 2010 ของกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ เด็กนักเรียนหญิงชาวคองโก 46% ยืนยันว่า ตนเป็นเหยื่อของการก่อกวนทางเพศ ทารุณกรรมทางเพศ และความรุนแรงทางเพศอื่น ๆ ที่ทำโดยครูหรือบุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียนในประเทศโมซัมบิก งานศึกษาของกระทรวงการศึกษาพบว่า ผู้ที่ตอบงานสำรวจเพศหญิง 70% รู้จักครูที่บังคับให้ร่วมเพศก่อนที่จะเลื่อนชั้นให้แก่นักเรียนงานสำรวจหนึ่งในจังหวัดคิวูเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกพบว่า เด็กหญิง sixteen% กล่าวว่าตนถูกบังคับให้ร่วมเพศกับครูตามรายงานของ UNICEF ครูในประเทศมาลีใช้การข่มขู่ด้วยปากกาแดง คือให้คะแนนแย่ ๆ ถ้าเด็กหญิงไม่ยอมตอบรับทางเพศตามองค์การ “Plan International” เด็ก sixteen% ในประเทศโตโกสามารถบอกชื่อของครูที่เป็นพ่อของเด็กในครรภ์ของเพื่อนร่วมห้อง
- งานวิจัยที่สร้างภาพทางสมองโดยกิจ ในปี 2008 พบว่า การประมวลสิ่งเร้าทางเพศหลักของบุคคลรักต่างเพศที่เป็น “คนไข้ในผู้ใคร่เด็ก ที่ศาลบังคับให้อยู่ในโรงพยาบาล” อาจจะเปลี่ยนไปเพราะความผิดปกติในเครือข่ายประสาทกลีบหน้าผากส่วนหน้า ซึ่ง “อาจจะสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ควบคุมโดยสิ่งเร้า เช่นพฤติกรรมชั่ววูบตามอารมณ์เพศ” และบอกเป็นนัยว่า “มีการทำหน้าที่ผิดปกติของการประมวลความตื่นตัวทางเพศในระดับประชาน”
- การบำบัดพฤติกรรมทางประชาน (Cognitive behavioral remedy ตัวย่อ CBT) มีจุดหมายเพื่อลดทัศนคติ ความเชื่อ และพฤติกรรม ที่เพิ่มโอกาสการทำผิดทางเพศต่อเด็กแม้ว่าเนื้อหาของการรักษาจะต่างกันมากในระหว่างผู้บำบัด แต่ว่า โดยทั่วไปโปรแกรมรักษาอาจจะฝึกการควบคุมตัวเอง สมรรถภาพทางสังคม ความเห็นใจผู้อื่น และการเปลี่ยนความคิด เพื่อเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์กับเด็กรูปแบบสามัญที่สุดของการบำบัดเช่นนี้คือการป้องกันโรคกลับ ที่สอนคนไข้ให้รู้จักระบุและตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ล่อแหลม โดยใช้หลักในการบำบัดการติดสิ่งเร้าอื่น ๆ (เช่นการติดยา)
- ประเทศแคนาดาก็มีกฎหมายที่มีกำหนดคล้ายกันด้วย
- เขากล่าวถึงกรณีใคร่เด็กหลายกรณีในหญิงผู้ใหญ่ (โดยได้ข้อมูลจาก น.พ.อีกท่านหนึ่ง) และพิจารณาการทารุณเด็กชายโดยชายรักร่วมเพศว่าเกิดน้อยมากแล้วกล่าวเรื่องนี้ให้ชัดเจนขึ้นว่า ชายผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติทางการแพทย์หรือทางประสาทแล้วทารุณเด็กชาย จะไม่ใช่คนใคร่เด็กจริง ๆ และตามสังเกตการณ์ของเขา เหยื่อของชายเช่นนี้มักจะมีอายุมากกว่าและถึงวัยเริ่มเจริญพันธุ์แล้ว เขายังลงในรายการ pseudopaedophilia (โรคใคร่เด็กเทียม) ที่เป็นอาการซึ่งสัมพันธ์กันที่ “บุคคลได้สูญเสียอารมณ์ทางเพศต่อผู้ใหญ่ผ่านการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง แล้วจึงหันไปหาเด็กเพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน” และอ้างว่า สภาวะเช่นนี้มีมากกว่า
องค์กรดำเนินการต่อต้านคนใคร่เด็ก ขบวนการต่อต้านคนใคร่เด็ก ทำการต่อต้านคนใคร่เด็ก ต่อต้านกลุ่มสนับสนุนข้อปฏิบัติของคนใคร่เด็ก และต่อต้านปรากฏการณ์อื่น ๆ ที่มองว่าสัมพันธ์กับความใคร่เด็ก เช่นสื่อลามกอนาจารเด็ก และการทารุณเด็กทางเพศการต่อต้านโดยตรงรวมทั้งการประท้วงต่อต้านผู้ทำผิดทางเพศ ต่อต้านคนใคร่เด็กที่สนับสนุนให้กิจกรรมทางเพศระหว่างผู้ใหญ่กับเด็กเป็นเรื่องถูกกฎหมาย และต่อต้านคนใช้อินเทอร์เน็ตที่ชักชวนเด็กให้มีเพศสัมพันธ์ร่วมกับตน เพราะสื่อมวลชนได้ให้ความสนใจต่อโรคใคร่เด็กในระดับสูง จึงทำให้เกิดอาการตื่นตระหนกตกใจจากมวลชน โดยเฉพาะเมื่อตามรายงานข่าวคนใคร่เด็กเช่นในเรื่องการพิจารณาโรงเรียนเด็กก่อนวัยเรียนแม็กมาร์ตินและจึงมีพฤติกรรมคล้ายศาลเตี้ยเกิดขึ้นตอบสนองความสนใจของสาธารณชนต่อผู้ต้องสงสัยทำผิดทางเพศต่อเด็ก หรือผู้ที่ถูกตัดสินว่าผิด เช่นในปี 2000 หลังจากที่สื่อได้รณรงค์ให้สืบหาและสร้างความอับอายให้แก่ผู้ต้องสงสัยว่าเป็นคนใคร่เด็กในสหราชอาณาจักรมีประชาชนเป็นร้อย ๆ ที่ลงสู่ถนนประท้วงผู้ต้องสงสัย จนกลายเป็นความรุนแรงที่เจ้าหน้าที่ตำรวจต้องเข้าแทรกแซง นวนิยาย โลลิตา ประพันธ์โดยนายวลาดีมีร์ นาโบคอฟ เป็นนิยายค่อนข้างอื้อฉาวเพราะว่ามีแก่นเรื่องเป็นความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างชายผู้ใหญ่กับเด็กหญิงอายุ 12 ขวบ การทารุณเด็กทางเพศ การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก การค้าประเวณีเด็ก
องค์กรดำเนินการต่อต้านคนใคร่เด็ก
ส่วนต่างๆ ของหน้านี้ ความช่วยเหลือในการเข้าถึง เพื่อเปิดเมนูนี้ อีเมลหรือโทรศัพท์รหัสผ่านลืมบัญชีใช่หรือไม่
โรคนี้เรียกว่า pedophilic disorder ตามคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM-5) ของสมาคมจิตเวชอเมริกัน และกำหนดว่าเป็นประเภทหนึ่งของกามวิปริต ที่มีบุคคลเกิดความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงและซ้ำ ๆ หรือมีจินตนาการทางเพศ ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ผู้ที่ตนได้มีกิจกรรมร่วม หรือที่เป็นเหตุให้ตนเดือดร้อนลำบากหรือให้มีปัญหาด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลส่วนบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ICD-10) ขององค์การอนามัยโลก นิยามคำนี้ว่า เป็น ความต้องการทางเพศต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์หรือวัยเริ่มเจริญพันธุ์ในระยะต้น ๆ ส่วนโดยนิยมของชาวตะวันตก คำว่า pedophilia มักจะใช้กับความสนใจทางเพศต่อ “เด็ก” ทุกอย่าง หรือการทารุณเด็กทางเพศการใช้คำเช่นนี้เป็นการผสมความรู้สึกทางเพศต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ กับการทารุณเด็กทางเพศ และไม่แยกแยะระหว่างความรู้สึกต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ กับเด็กวัยหลังจากนั้นที่ยังเรียกว่าเด็กตามกฎหมายนักวิจัยแนะนำไม่ให้ใช้คำอย่างไม่แม่นยำเช่นนี้ เพราะแม้ว่าคนที่ทารุณเด็กทางเพศบางครั้งอาจจะมีความผิดปกตินี้แต่ผู้ทารุณเด็กทางเพศอาจจะไม่ใช่คนใคร่เด็ก นอกจากจะมีความสนใจทางเพศเป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์และวรรณกรรมวิชาการก็แสดงว่า มีคนใคร่เด็กที่ไม่ทำร้ายเด็กทางเพศ โรคนี้รู้จักเป็นวงกว้างและให้ชื่ออย่างเป็นทางการครั้งแรกในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีงานวิจัยเป็นจำนวนสำคัญที่ทำในเรื่องนี้เริ่มตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1980 แม้ว่าหลักฐานโดยมากจะพบในชาย แต่ก็มีหญิงที่มีความผิดปกติเช่นนี้และนักค้นคว้า ได้ตั้งสมมุติฐานว่า มีจำนวนหญิงใคร่เด็กที่มีน้อยกว่าความเป็นจริงไม่มีวิธีรักษาความผิดปกตินี้ให้หายขาด แต่มีวิธีบำบัดช่วยลดการทารุณเด็กทางเพศแม้ว่าเหตุของโรคจะยังไม่ชัดเจนแต่ว่าก็มีงานวิจัยในผู้ทำผิดทางเพศต่อเด็ก ที่พบสหสัมพันธ์ของโรคกับความผิดปกติทางประสาทและสภาวะจิตพยาธิหลายอย่าง ในสหรัฐหลังปี 1997 ผู้กระทำผิดทางเพศที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติทางจิตบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคใคร่เด็ก อาจถูกสั่งขังในคดีแพ่งได้อย่างไม่มีกำหนด 1 นิยามของศัพท์อภิธาน
กฎหมายและนิติจิตเวชศาสตร์ในประเทศตะวันตก
งานวิจัยปี 2002 พบความเสียหายต่อความคิดเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ในตัวอย่างผู้กระทำผิดทางเพศต่อเด็กที่ผ่านเกณฑ์วินิจฉัยว่าเป็นโรคใคร่เด็ก เป็นความเสียหายที่ผู้เขียนเสนอว่า อาจมีส่วนให้ทำผิดต่อเด็ก คือ คนใคร่เด็กผู้ทำผิดทางเพศในงานวิจัยมีระดับ psychopathy (พฤติกรรมต่อต้านสังคม ความเห็นใจคนอื่นและความเสียใจน้อย พฤติกรรมที่ไม่ยับยั้งชั่งใจ) ที่สูงขึ้นและมีความบิดเบือนทางประชาน เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่เป็นคนปกติจากชุมชน ซึ่งนักวิจัยตีความว่าเป็นมูลฐานของความไม่สามารถห้ามพฤติกรรมทางอาชญากรรมของตนแต่ว่างานในปี 2009 และ 2012 กลับพบว่า ผู้ที่ทำร้ายเด็กทางเพศแต่ไม่ใช่คนใคร่เด็กแสดงลักษณะ psychopathy แต่คนใคร่เด็กผู้ทำร้ายเด็กไม่แสดง ส่วนงานวิจัยปี 1983 ศึกษาลักษณะของสมาชิกสโมสรคนใคร่เด็กกลุ่มหนึ่งความแตกต่างที่ชัดเจนที่สุดระหว่างคนใคร่เด็กกับคนกลุ่มควบคุมปกติก็คือ introversion scale คือคนใคร่เด็กแสดงความขี้อาย ความไวต่ออารมณ์ และความซึมเศร้าในระดับที่สูงขึ้น คนใคร่เด็กมีระดับ neuroticism และ psychoticism ที่สูงขึ้น แต่ไม่พอที่จะจัดว่าเป็นโรค แต่ผู้เขียนเตือนให้ระวังว่า > การแยกแยะเหตุกับผลเป็นเรื่องยาก เราไม่สามารถบอกได้ว่า คนใคร่เด็กมีความชอบเอียงไปทางเด็กเพราะว่า เป็นคนเก็บตัวในระดับสูง แล้วพบการอยู่กับเด็กว่าน่ากลัวน้อยกว่าอยู่กับผู้ใหญ่ หรือว่า การถอนตัวจากสังคมดังที่แสดงเป็นนัยโดยระดับ introversion เป็นผลของความโดดเดี่ยวทางสังคมที่เกิดจากความต้องการทางเพศของตน คือ (เกิดจาก)ความตระหนักถึงการประณามและความเป็นปฏิปักษ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นจากความต้องการทางเพศนั้น:324 ในงานสำรวจกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่คนไข้ คนใคร่เด็ก 46% แจ้งว่า ตนได้พิจารณาการฆ่าตัวตายอย่างจริงจังเพราะความสนใจทางเพศของตน 32% มีแผนจะทำ และ thirteen% ได้พยายามแล้ว งานทบทวนงานวิจัยเชิงคุณภาพที่พิมพ์ระหว่างปี สรุปว่า ผู้ทารุณเด็กทางเพศมีการประมวลทางประชานที่บิดเบือน เพื่อประโยชน์แก่ตน โดยให้เหตุผลแก้ต่างทารุณกรรม คือคิดถึงการกระทำของตนว่าเป็นความรักและความมีใจร่วมกันทั้งสองฝ่าย และฉวยประโยชน์โดยอาศัยความไม่สมดุลทางกำลัง-อำนาจที่มีโดยธรรมชาติในความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็กความคิดที่บิดเบือนอื่น ๆ รวมทั้งแนวคิดว่าเด็กมีสภาพบางอย่างทางเพศ ว่าพฤติกรรมทางเพศเป็นเรื่องควบคุมไม่ได้ และเรื่องสิทธิการได้เพศสัมพันธ์ สื่อลามกอนาจารเด็ก
คำขอของคุณไม่สามารถดำเนินการได้ มีปัญหาเกิดขึ้นกับคำร้องขอนี้ เรากำลังพยายามแก้ไขให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ศูนย์ข้อมูลการลงคะแนนเสียง
Facebook fan page : Sportsnews891 ข้อมูลข่าวสารสาารที่เรานำมาเสนอให้ทุกคนได้รู้กันนั้น จะมีคุณประโยชน์อย่างแน่นอน สำหรับแฟนบอล หรือคนชอบดูข่าวที่เกี่ยวกับเรื่องกีฬาติดตามอัพเดทข่าวกับพวกเราได้ตลอดระยะเวลา 24 ชม.
หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: หน้าที่ใช้อาร์กิวเมนต์ซ้ำในการเรียกแม่แบบ หน้าที่มีอ้างอิงที่ใช้พารามิเตอร์ไม่สนับสนุน หน้าที่มีอ้างอิง DOI ไม่สมบูรณ์ บทความที่เรียกใช้แม่แบบโดยใส่วันที่ไม่ถูกต้อง บทความที่มีข้อความภาษาเยอรมัน บทความที่มีข้อความภาษาฝรั่งเศส บทความที่ขาดแหล่งอ้างอิงเฉพาะส่วน
เด็กและเด็กต้นวัยรุ่นผู้ทำผิด
“abuse of youngsters; youngster abuse”, ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย; ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑, การกระทำทารุณต่อเด็ก (นิติศาสตร์) “molestation”, ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย; ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑, การรบกวน, การทำร้าย (นิติศาสตร์) กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ. องค์การอนามัยโลก.
ไม่มีหลักฐานว่าโรคใคร่เด็กสามารถรักษาให้หายขาดและการบำบัดรักษาโดยมากพุ่งความสนใจไปที่การช่วยคนใคร่เด็กให้ระงับตนเองจากการสนองความต้องการมีวิธีการบำบัดบางอย่างที่พยายามรักษาโรคใคร่เด็ก แต่ว่าไม่มีงานศึกษาที่แสดงว่ามีผลระยะยาวต่อรสนิยมทางเพศนักจิตวิทยาเชี่ยวชาญทางเพศวิทยาท่านหนึ่งเสนอว่า การพยายามรักษาโรคใคร่เด็กในวัยผู้ใหญ่ไม่น่าจะสำเร็จเพราะว่า พัฒนาการของโรคได้รับอิทธิพลจากปัจจัยก่อนเกิด ส่วนจิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพศวิทยาอีกท่านหนึ่งเชื่อว่า โรคใคร่เด็กไม่สามารถเปลี่ยนได้ง่าย ๆ คล้ายกับความรักร่วมเพศและรักต่างเพศแต่ว่า สามารถช่วยคนใคร่เด็กให้ควบคุมพฤติกรรมของตนได้ และงานวิจัยในอนาคตจะพัฒนาวิธีการป้องกันได้ มีข้อจำกัดสามัญในงานศึกษาประสิทธิผลของการบำบัด คือ งานส่วนมากจัดหมวดหมู่ผู้เข้าร่วมโดยพฤติกรรมแทนที่จัดตามความชอบใจเด็กตามอายุ ซึ่งทำให้ยากที่จะรู้ผลโดยเฉพาะต่อ “คนใคร่เด็ก”งานจำนวนมากไม่ได้เลือกกลุ่มบำบัดและกลุ่มควบคุมโดยสุ่มและผู้ทำผิดที่ปฏิเสธหรือเลิกการบำบัดมีโอกาสสูงกว่าที่จะทำผิดอีก ดังนั้น การยกเว้นข้อมูลบุคคลเช่นนั้นจากกลุ่มบำบัด ในขณะที่ไม่ยกเว้นบุคคลที่ปฏิเสธหรือเลิกจากกลุ่มควบคุม อาจจะทำให้เกิดความเอนเอียงในกลุ่มบำบัดเอียงไปในบุคคลที่มีอัตราการกระทำผิดอีกที่ต่ำกว่าและประสิทธิผลของการบำบัดคนใคร่เด็กที่ไม่ได้ทำผิดก็ไม่มีการศึกษา การบำบัดพฤติกรรมทางประชาน การบำบัดพฤติกรรมทางประชาน (Cognitive behavioral remedy ตัวย่อ CBT) มีจุดหมายเพื่อลดทัศนคติ ความเชื่อ และพฤติกรรม ที่เพิ่มโอกาสการทำผิดทางเพศต่อเด็กแม้ว่าเนื้อหาของการรักษาจะต่างกันมากในระหว่างผู้บำบัด แต่ว่า โดยทั่วไปโปรแกรมรักษาอาจจะฝึกการควบคุมตัวเอง สมรรถภาพทางสังคม ความเห็นใจผู้อื่น และการเปลี่ยนความคิด เพื่อเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์กับเด็กรูปแบบสามัญที่สุดของการบำบัดเช่นนี้คือการป้องกันโรคกลับ ที่สอนคนไข้ให้รู้จักระบุและตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ล่อแหลม โดยใช้หลักในการบำบัดการติดสิ่งเร้าอื่น ๆ (เช่นการติดยา) แต่หลักฐานที่แสดงประสิทธิผลของ CBT ค่อนข้างคลุมเครืองานปฏิทัศน์แบบคอเครนปี 2012 ที่ศึกษาการทดลองแบบสุ่มพบว่า CBT ไม่มีผลต่อความเสี่ยงของการทำผิดอีกสำหรับผู้กระทำผิดทางเพศแบบจับต้องตัวแต่ว่างานวิเคราะห์อภิมานในปี 2002 และ 2005 ซึ่งศึกษาทั้งงานแบบสุ่มและไม่สุ่ม สรุปว่า CBT ลดการทำผิดอีกแต่ก็มีข้อโต้เถียงกันว่า งานศึกษาแบบไม่สุ่มจะให้ข้อมูลอะไรได้หรือไม่ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีงานศึกษาเพิ่มขึ้นอีก